วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2555

เทอร์มิสเตอร์ (Thermister)

เทอร์มิสเตอร์เป็นตัววัดอุณหภูมิแบบสารกึ่งตัวนำที่ใช้หลักการการเปลี่ยนแปลงความต้านทานเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปแต่จะมีทั้งการเปลี่ยนแบบสัมพันธ์ตรง และผกผัน


วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555

รังสีอินฟราเรดกับการให้ความร้อน

   หน่วยเล็กที่สุดของวัตถุ คือโมเลกุล (ซึ่งโมเลกุลจะประกอบด้วยอะตอมของธาตุต่าง ๆ) การที่วัตถุสามารถอยู่รวมกันเป็น กลุ่มก้อนดังที่เราเห็น สืบเนื่องจากโมเลกุลเหล่านั้น มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้


วันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2555

ฮีตเตอร์อินฟราเรด (INFRARED HEATER)

   ฮีตเตอนร์อินฟราเรด เป็นตัวกำเนิดแสงอินฟราเรดซึ่งเป็นแสงที่มีคลื่นยาวที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตามนุษย์ซึ่งรังษีคลื่นความยาวนี้จะทำให้โมเลกุลของวัตถุที่ได้รับรังสีนี้เข้าไปเกิดการสั่น ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนขึ้น ซึ่งหลักการนี้จะมีประสิทธิภาพมากเมื่อนำไปประยุกต์ใช้กับวัตถุที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ หรือวัตถุที่มีโมเลกุลเกาะเรียงกันเป็นแถวยาว เช่น สี ,กาว ,อาหาร ,พลาสติก ,แลกเกอร์

วันอังคารที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2555

อินฟราเรด (INFRARED)

อินฟราเรด เป็นรังสีหรือเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความยาวคลื่น 0.7 ไมโครเมตร ถึง 80 ไมโครเมตร โดยธรรมชาติเราจะคุ้นเคยหรือสัมผัสกับอินฟราเรดอยู่เสมอ ๆ เช่น ในแสงแดดหรือแสงอาทิตย์จะมีอินฟราเรดรวมอยู่ด้วย ทำให้เรารู้สึกร้อน อินฟราเรดที่ส่งออกมาจากดวงอาทิตย์นั้นไม่จำเป็นต้องใช้ตัวกลาง หรือตัวพาความร้อนจึงสามารถผ่านมาสู่โลกได้ด้วยวิธีการแผ่รังสี

วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เทอร์โมคัปเปิลและอาร์ทีดี

เทอร์โมคัปเปิลและอาร์ทีดีเป็นหัววัดอุณหภูมิซึ่งจุดประสงค์ของการนำมาใช้งานจะมีจุดประสงค์เดียวกันคือใช้สำหรับวัดอุณหภูมิแต่ทั้ง 2 ชนิดก็จะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันตามลักษณะงานที่จะนำไปใช้ เรามาดูความแตกต่างและคุณสมบัติของเทอร์โมคัปเปิลและอาร์ทีดีกันครับ

อาร์ทีดี (Resistance Temperature Detectors)

  อาร์ทีดีใช้หลักการคือเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนค่าความต้านทานของขดลวดจะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย อาร์ทีดีทำจากลวดโลหะที่มีความยาวค่าหนึ่ง ซึ่งที่ 0 C จะมีค่าความต้านทานค่าหนึ่งตามที่กำหนด

วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เทอร์โมคัปเปิล (THERMOCOUPLE) ตอนที่ 3

การเชื่อมหัวเทอร์โมคัปเปิล มีความสำคัญมาก ต้องเชื่อมให้ถูกต้องตามหลักการ เพื่อให้ได้การวัดที่แม่นยำและมีอายุการใช้งานยาวนาน การเชื่อมหัวเทอร์โมคัปเปิลมีการแบ่งตามขนาดของลวดดังนี้

เทอร์โมคัปเปิล (THERMOCOUPLE) ตอนที่ 2

หลักการทำงานของเทอร์โมคัปเปิล คือ อาศัยความแตกต่างของอุณหภูมิในการสร้างแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้น การที่แรงเคลื่อนไฟฟ้าค่าหนึ่งจะอ้างอิงเป็นอุณหภูมิค่าหนึ่งได้ แสดงว่าความแตกต่างของอุณหภูมิที่เกิดขึ้นนั้นจะต้องอ้างอิงกับอุณหภูมิค่าคงที่ค่าหนึ่งเสมอ โดยเรียกอุณหภูมิคงที่ที่ใช้อ้างอิงนี้ว่า Reference Junction และได้มีการกำหนด Reference Junction ให้เป็น 0 C

วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เทอร์โมคัปเปิล (THERMOCOUPLE) ตอนที่ 1

เทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) หรือ ที่ทั่ว ๆ ไปบางคนมักเรียกกันว่า หัววัดอุณหภูมิซึ่งเจ้าตัว เทอร์โมคัปเปิลนี้ก็จะมีอยู่หลากหลายชนิด หลากหลายแบบ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความต้องการนำไปใช้ในลักษณะของการวัดที่แตกต่างต่างกันออกไปมาทำความรู้จักกับ เทอร์โมคัปเปิลกันครับ

วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature controller)

เครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าอุณหภูมิที่กำหนดไว้ โดยจะนำมาใช้ในการสั่งการให้กับอุปกรณ์สำหรับทำความร้อนหรืออุปกรณ์ทำความเย็น ทำงาน ตามที่ได้ตั้งค่าอุณหภูมิไว้ การนำมาใช้งานและการควบคุมก็ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งาน

วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เซอร์กิตเบรกเกอร์ CIRCUIT BREAKER

เซอร์กิตเบรกเกอร์ Circuit breaker หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำงาน เปิดและปิดวงจรไฟฟ้า แบบไม่อัตโนมัติ แต่สามารถเปิดวงจรได้อัตโนมัติ ถ้ามีกระแส ไหลผ่าน เกินกว่าค่าที่กำหนด โดยไม่มีความเสียหายเกิดขึ้น
เซอร์กิตเบรกเกอร์ Circuit Breaker แรงดันต่ำ หมายถึง Breaker ที่ใช้กับแรงดันน้อยกว่า 1000 volt แบ่งออกได้หลายชนิด ได้แก่

วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

รู้จักกับรีเลย์ ( Relay)

Relay ( Relay )อุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่ตัดต่อวงจร แบบเดียวกับสวิตช์ และจะทำงานโดยอาศัยการจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับรีเลย์ รีเลย์นั้นมีมากมายหลายประเภท เช่น รีเลย์ขนาดเล็ก ที่ใช้ในงานอิเล็กทรอนิกส์ หรือ รีเลย์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในงานทางไฟฟ้ากำลังเป็นต้น โดยมีรูปร่าง หน้าตาแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักการทำงานนั้นจะคล้ายกัน

วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

อินเวอร์เตอร์คืออะไร

ปัจจุบันอินเวอร์เตอร์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว และมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งหลายท่านได้ใช้ได้เข้าไปเกี่ยวข้องแต่ไม่ทราบว่าอินเวอร์เตอร์คืออะไร ทำงานอย่างไร  ดังนั้นวัตถุประสงค์ของเอกสารนี้ จึงเรียบเรียงขึ้นเป็นแนวทางเพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานอินเวอร์เตอร์ ได้เกิดความเข้าใจหลักการทำงานพื้นฐานของอินเวอร์เตอร์ ได้มากยิ่งขึ้น

วันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส

แบ่งออกตามโครงสร้างและหลักการทำงานของมอเตอร์ได้ 2 แบบ คือ
   1. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักชั่น (3 Phase Induction Motor)
   2. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบซิงโครนัส (3 Phase Synchronous Motor)

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ  หมายถึง  มอเตอร์ที่ใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ  เป็นเครื่องกลไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล  ส่วนที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าคือขดลวดในสเตเตอร์และส่วนที่ทำหน้าที่ให้พลังงานกล คือ ตัวหมุนหรือโรเตอร์  ซึ่งเมื่อขดลวดในสเตเตอร์ได้รับพลังงานไฟฟ้าก็จะสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นมาในตัวที่อยู่กับที่หรือสเตเตอร์  ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นนี้จะมีการเคลื่อนที่หรือหมุนไปรอบ ๆ สเตเตอร์  เนื่องจากการต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าในขดลวดและการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้า  ในขณะที่สนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ไปสนามแม่เหล็กจากขั้วเหนือก็จะพุ่งเข้าหาขั้วใต้  ซึ่งจะไปตัดกับตัวนำที่เป็นวงจรปิดหรือขดลวดกรงกระรอกของตัวหมุนหรือโรเตอร์  ทำให้เกิดการเหนี่ยวนำของกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวดของโรเตอร์  ซึ่งสนามแม่เหล็กของโรเตอร์นี้จะเคลื่อนที่ตามทิศทางการเคลื่อนที่จองสนามแม่เหล็กที่สเตเตอร์  ก็จะทำให้โรเตอร์ของมอเตอร์เกิดจะพลังงานกลสามารถนำไปขับภาระที่ต้องการหมุนได้

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่ผลิตมาใช้งาน มีโครงสร้างและส่วนประกอบคล้ายกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง มีส่วนประกอบที่สำคัญเหมือนกัน มีรูปร่างลักษณะภายนอกคล้ายกัน แตกต่างกันตรงการนำไปใช้งาน โดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงจะทำให้เกิดไฟฟ้าในรูปของแรงดันไฟตรงออกมา ส่วนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงเมื่อจ่ายแรงดันไฟตรงให้มอเตอร์ ทำให้มอเตอร์หมุนเกิดพลังกลขึ้นมา